การใช้จุกหลอดให้ปลอดภัย
จุกหลอก คือจุกนมปลอมที่ผลิตจากยาง หรือซิลิโคน ซึ่งคุณแม่หลายๆท่านใช้เป็นตัวช่วยในการเลี้ยงทารก แทนการดูดนิ้วของทารก และช่วยให้ลูกน้อยอารมณ์ดี ทั้งยังช่วยเบี่ยงเบนความสนใจในช่วงสั้นๆให้ทารกหยุดร้องไห้เมื่อไม่ได้เข้าเต้าได้
จุกหลอก คือจุกนมปลอมที่ผลิตจากยาง หรือซิลิโคน ซึ่งคุณแม่หลายๆท่านใช้เป็นตัวช่วยในการเลี้ยงทารก แทนการดูดนิ้วของทารก และช่วยให้ลูกน้อยอารมณ์ดี ทั้งยังช่วยเบี่ยงเบนความสนใจในช่วงสั้นๆให้ทารกหยุดร้องไห้เมื่อไม่ได้เข้าเต้าได้
อาการท้องผูก และ ริดสีดวงทวาร ในคุณแม่หลังคลอด
ช่วงหลังคลอด คุณแม่อาจมีปัญหาท้องผูกหรือมีริดสีดวงทวารเกิดขึ้นได้ อาการท้องผูกมักมีสาเหตุจาก คุณแม่เจ็บแผลผ่าคลอด ทำให้ไม่อย่างเบ่ง ไม่อยากขับถ่าย…
ผื่นตามร่างกายในเด็กทารก
ทำไมทารกจึงมีผื่น?
เนื่องจากผิวของเด็กทารกแรกเกิดมีลักษณะบอบบาง ระคายเคืองได้ง่าย โครงสร้างผิวยังไม่แข็งแรงดี เซลล์ผิวหนังแท้และหนังกำพร้ายังไม่ยืดหยุ่นแข็งแรง จึงไวต่อสิ่งที่มากระทบอย่างมาก
เหตุใดทารกจึงไม่ควรทานน้ำ ก่อน 6 เดือน? นมแม่ หรือ นมผสมนับเป็นอาหารหลักสำหรับทารกอายุต่ำกว่า 6 เดือน ซึ่งในนมเหล่านั้นจะมีน้ำเป็นส่วนผสมมากกว่า 80%
ผู้ป่วยหลังโควิดหลายท่าน ในช่วง 1-3 เดือนแรกหลังป่วย อาจมีอาการผมร่วงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งปัญหาผมร่วงที่เกิดขึ้น ไม่ได้เป็นผลจากไวรัสโคโรนาโดยตรง แต่เป็นผลกระทบที่จากการเจ็บป่วย เนื่องจากเชื้อโรคโควิด-19 ทำให้เกิดการอักเสบ และการเปลี่ยนแปลงของระบบการทำงานภายในร่างกาย นอกจากนี้ผู้ป่วยอาจมีความเครียด ความวิตกกังวล น้ำหนักลดลง จากลิ้นไม่รับรส จมูกไม่ได้กลิ่น ส่งผลให้รัปประทานอาหารได้น้อยลง จนกระตุ้นให้เกิดอาการผมร่วงได้
การที่ทารกสะอึก “มักเกิดหลังจากที่ทารกดื่มนมอิ่ม” สาเหตุจากกระเพาะอาหารขยายตัว เนื่องจากมีนมเข้าไปอยู่ จนเกิดแรงดัน…
ท่าให้นมที่เหมาะสม จะช่วยให้ลูกน้อยสามารถอมได้ถึงลานนม และ ได้น้ำนมแม่อย่างเต็มที่ สามารถดูดได้เกลี้ยงเต้า ช่วยลดโอการที่จะเกิดท่อน้ำนมอุดตัน และ ช่วยลดปัญหาหัวนมแตก อีกด้วยค่ะ
านนมอิ่มเป็นสิ่งที่สำคัญกับลูกน้อยวัย 0 – 3 เดือนเป็นอย่างมาก ช่วยให้ระบบย่อยในท้องทำงานได้ดีขึ้น คุณแม่ควรต้องจัดท่าให้ลูกเรอหลังทานนมทุกครั้ง ไม่ว่าจะทานจากเต้าหรือขวด เพราะระหว่างที่ลูกดูดนมลูกจะกลืนลมเข้าไปด้วย ทำให้ลูกรู้สึกแน่นท้อง อึดอัดท้อง หรือแหวะนมได้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ลูกมีอาการไม่สบายท้องนั่นเอง
น้ำนมแม่มีสารที่ช่วยเสริมสร้างเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ทารกให้เติบโตและมีสุขภาพแข็งแรง ดังนั้นการเก็บรักษาน้ำนมแม่ให้ลูกน้อยได้ทานต่อเนื่องตั้งแต่แรกเกิดจนถึง6เดือนจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ
การเก็บรักษาน้ำนมแม่ให้คงคุณค่าอยู่ได้นานนั้นขึ้นอยู่กับการเก็บรักษาในอุณหภูมิที่เหมาะสม
ครั้งที่แล้ว เราได้พูดถึงปริมาณน้ำนมที่เหมาะสมสำหรับทารก ซึ่งสามารถดูได้จากน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นของทารก มาดูกันนะคะว่าน้ำหนักตัวของลูกน้อย ในแต่ละช่วงเดือน ควรเพิ่มประมาณเท่าไร
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ยอมรับทั้งหมด