เมื่อไหร่ควรเสริมนมผงให้ทารก
แม้ว่าน้ำนมแม่จะมีประโยชน์ที่สุดสำหรับลูกน้อยในวัยทารก หากเป็นไปได้ ควรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ล้วน ใน 6 เดือนแรก เนื่องจากนมแม่จะมีทั้งภูมิคุ้มกัน และ สารอาหาร
แม้ว่าน้ำนมแม่จะมีประโยชน์ที่สุดสำหรับลูกน้อยในวัยทารก หากเป็นไปได้ ควรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ล้วน ใน 6 เดือนแรก เนื่องจากนมแม่จะมีทั้งภูมิคุ้มกัน และ สารอาหาร
ท่าที่ 1 ให้คุณแม่นั่งในท่าสบาย ๆ ใช้มือทั้งสองข้างค่อย ๆ นวดต้นคอ ลงมาที่แขนและใต้รักแร้ โดยนวดเบา ๆ จะรู้สึกสบาย เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้น ท่าที่ 2 เอามือทั้งสอง
Colic หรือที่บางคนเรียกว่า เด็กร้อง 3 เดือน มักเกิดกับทารกในช่วง 3 เดือนแรก หลังจาก 3 เดือนแล้ว อาการร้องไห้แผดเสียงอย่างหนักโดยไม่ทราบสาเหตุ ก็จะหายไปเอง
คุณแม่ที่มีอาการเต้าอักเสบ มักมีอาการปวด เต้าบวม แดง ร้อนบริเวณเต้านม และอาจมีไข้ร่วมด้วย หากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม อาจทำให้มีการติดเชื้อของเนื้อเยื่อเต้านม ต้องใช้ยาปฏิชีวนะในรักษา และอาจทำให้เป็นฝีหนองได้
คุณแม่หลายท่านมักพบปัญหาว่า ลูกติดขวดแล้วไม่ยอมเอาเต้า จริงๆแล้วทราบหรือไม่ว่า การที่ลูกติดขวดส่วนใหญ่มักเกิดจากคุณแม่นั่นเอง สาเหตุที่ทำให้ลูกติดขวด อาจเป็นเพราะ
โดยปกติแล้วเมื่อทารกคลอดออกมา แพทย์จะทำความสะอาดและตัดสายสะดือให้เหลือความยาวประมาณ 1 – 1.5 นิ้ว ทั้งนี้โดยปกติหลังคลอดประมาณ 7-10 วันสะดือทารกจะหลุดไปเอง อย่างไรก็ตามระหว่างที่สายสะดือยังคงอยู่ คุณแม่ควรดูแลความสะอาดบริเวณสะดือให้สะอาด อย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันการอักเสบ ติดเชื้อค่ะ
Baby Blue เป็นภาวะที่คุณแม่แรกคลอดส่วนใหญ่ หรือ ประมาณ 75% ของคุณแม่หลังคลอดต้องเจอ โดยมักเกิดช่วง 3-10 วันหลังคลอด
คุณแม่หลังคลอดมักกังวลถึงรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไป หลายท่านอาจรู้สึกว่า ทำไมคลอดแล้วก็ยังคงมีหน้าท้องเหมือนยังไม่ได้คลอด ทั้งนี้เนื่องจากผิวหนัง และมดลูกของคุณแม่มีการขยายออกตลอด 9 เดือนที่คุณแม่ตั้งครรภ์ ซึ่งประมาณ 6-8 สัปดาห์หลังคลอด มดลูกของคุณแม่จะหดตัวกลับไปเท่าเดิม
จริง ๆแล้ว ไม่ว่าจะคุณแม่จะมีหัวนมบอด หัวนมสั้น หัวนมแบน หรือมีรูปทรงผิดปกติอย่างไรก็ตาม ก็สามารถให้ลูกเข้าเต้าได้นะคะ เพราะปกติแล้วทารกจะดูดเต้านมแม่ด้วยการอมลึกถึงลานนม ดังนั้นถ้าลูกดูดนมแม่ได้อย่างถูกวิธี ก็จะสามารถเข้าเต้าเพื่อรับน้ำนมแม่ได้
หากลูกมีอาการไอ หรือ ขย้อนนมออกมาในระหว่างที่ดูดนม หรือ เข้าเต้า แสดงว่าอาจเกิดการสำลักขึ้น หากอาการสำลักนั้นรุนแรง ลูกอาจไอแรง จนหน้าเขียว มีเสียงหายใจครืดคราด กรณีนี้ควรรีบนำลูกไปพบแพทย์โดยด่วน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ยอมรับทั้งหมด