ทำไมลูกจึงติดขวด ไม่เอาเต้า
คุณแม่หลายท่านมักพบปัญหาว่า ลูกติดขวดแล้วไม่ยอมเอาเต้า จริงๆแล้วทราบหรือไม่ว่า การที่ลูกติดขวดส่วนใหญ่มักเกิดจากคุณแม่นั่นเอง สาเหตุที่ทำให้ลูกติดขวด อาจเป็นเพราะ
คุณแม่หลายท่านมักพบปัญหาว่า ลูกติดขวดแล้วไม่ยอมเอาเต้า จริงๆแล้วทราบหรือไม่ว่า การที่ลูกติดขวดส่วนใหญ่มักเกิดจากคุณแม่นั่นเอง สาเหตุที่ทำให้ลูกติดขวด อาจเป็นเพราะ
white Dot (ไวท์ดอท) คือ จุดสีขาวเล็ก ๆ คล้ายหัวสิวบริเว…
ฟอสฟอรัส, แมงกานิส, แมกนีเซียม และน้ำมันโวลาไทล์ มีไฟเบ…
กายภาพบำบัดก่อนการผ่าตัดและหลังการผ่าตัด การทำกายภาพบำบ…
ปัญหาหัวนมแตก เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในคุณแม่หลังคลอด เมื่อหัวนมแตก คุณแม่จะรู้สึกเจ็บบริเวณหัวนม ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการให้ลูกเข้าเต้า
. .ปกติกล้ามเนื้อมีหน้าที่ในการหดตัว ไม่มีหน้าที่ในการค…
“วัคซีนที่จำเป็นในผู้สูงอายุ และคนวัยทำงาน”
โดย ศ.พญ. กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ ผู้อำนวยการ ศูนย์วิจัยคลินิกศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
โรคข้อเข่าเสื่อม พบบ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป พบในเพศหญิง มากกว่าเพศชาย เกิดจากการใช้งานข้อต่อเข่าอย่างต่อเนื่องจนทำให้กระดูกอ่อน ผิวข้อสึกกร่อน ทำให้เกิดอาการปวดเข่า…
โมทิเลี่ยมช่วยเพิ่มน้ำนมได้จริงหรือ? โมทิเลี่ยม (Motili…
นอนกรน, นอนกระตุก, หายใจแรงกว่าปกติขณะนอนหลับ, เวลานอนมีเสียงเงียบเหมือนหยุดหายใจสักพัก จากนั้นมีเสียงหายใจดังเฮือก, ตื่นกลางดึกเพราะหายใจแรง สำลัก หรือหายใจ…
ผู้สูงอายุ มักมีกิจกรรมทางกายที่ลดลง การปล่อยให้ผู้สูงอายุอยู่ในสภาวะเนือยนิ่ง (Sedentary life) อาจส่งผลให้ข้อเริ่มยึดติด กำลังกล้ามเนื้อลดลง นำไปสู่การติดเตียง
Modified cradle hold หรือ cross cradle hole ท่าอุ้มเข้า…
อัลไซเมอร์ เป็นหนึ่งในสาเหตุของภาวะสมองเสื่อม เกิดจากความเสื่อมถอยของการทำงาน หรือโครงสร้างของเนื้อเยื่อของสมอง พบมากในผู้สูงอายุ ซึ่งหากปล่อยไว้โดยไม่ได้รับการรักษา อาการของโรคจะรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ จนส่งผลให้ผู้ป่วยไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันตามปกติได้ในที่สุด
‼️สัญญาณเตือนภัย หลอดเลือดสมอง ( BE-FAST)❗️สูญเสียการทร…
ความรู้สึกจี๊ดๆ ตามด้วยตึงๆ ที่เต้าก่อนที่น้ำนมจะพุ่งออกมา ซึ่งทางการแพทย์ เรียกว่า let-down reflex หรือ milk ejection reflex (MER)
เกิดจากการที่ร่างกายหลั่ง oxytocin ทำให้กล้ามเนื้อรอบต่อมน้ำนมหดตัวแล้วผลักน้ำนมออกมา
ประโยช์ของการให้ทารกเข้าเต้า และ การโอบกอด แบบแนบเนื้อ …
การเลือกซื้อเครื่องปั๊มนม ควรคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ อาทิ เ…
การมาของประจำเดือนเกี่ยวข้องกับฮอร์โมน 2 ชนิดคือ เอสโตร…
โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s Disease) เป็นรูปแบบหนึ่งของภาวะสมองเสื่อม เกิดจากความเสื่อมถอยของการทำงาน
อาการผมร่วงหลังคลอดมักเกิดหลังจากที่คุณแม่คลอดประมาณ 2-3 เดือน ซึ่งคุณแม่ไม่ต้องตกใจนะคะ ผมร่วงหลังคลอดเป็นอาการที่เกิดขึ้นชั่วคราว และผมของคุณแม่จะกลับมาดกเช่นเดิมภายใน 6 -12 เดือนหลังคลอด
แผลกดทับ เกิดจากการกด ทับ เสียดสี ร่างกายบริเวณใดบริเวณหนึ่งต่อเนื่องเป็นเวลานาน ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของการไหลเวียนของเลือดในบริเวณนั้น
จุกหลอก คือจุกนมปลอมที่ผลิตจากยาง หรือซิลิโคน ซึ่งคุณแม่หลายๆท่านใช้เป็นตัวช่วยในการเลี้ยงทารก แทนการดูดนิ้วของทารก และช่วยให้ลูกน้อยอารมณ์ดี ทั้งยังช่วยเบี่ยงเบนความสนใจในช่วงสั้นๆให้ทารกหยุดร้องไห้เมื่อไม่ได้เข้าเต้าได้
อาการข้อต่อยึดติด (joint stiffness) คือ ภาวะที่ข้อต่อในร่างกายไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ หรือเคลื่อนไหวได้อย่างยากลำบาก เกิดขึ้นได้ในข้อต่อที่ขาดการเคลื่อนไหวนานเกิน 1 สัปดาห์ ซึ่งอาการข้อต่อยึดติดสามารถเกิดได้กับผุ้ป่วยทุกเพศทุกวัย
อาการท้องผูก และ ริดสีดวงทวาร ในคุณแม่หลังคลอด
ช่วงหลังคลอด คุณแม่อาจมีปัญหาท้องผูกหรือมีริดสีดวงทวารเกิดขึ้นได้ อาการท้องผูกมักมีสาเหตุจาก คุณแม่เจ็บแผลผ่าคลอด ทำให้ไม่อย่างเบ่ง ไม่อยากขับถ่าย…
เมื่อมีอาการปวดข้อมาก จนต้องใช้ยาควบคุมอาการ หรือใช้ยาแล้วก็ยังคงมีอาการปวดมาก
ผื่นตามร่างกายในเด็กทารก
ทำไมทารกจึงมีผื่น?
เนื่องจากผิวของเด็กทารกแรกเกิดมีลักษณะบอบบาง ระคายเคืองได้ง่าย โครงสร้างผิวยังไม่แข็งแรงดี เซลล์ผิวหนังแท้และหนังกำพร้ายังไม่ยืดหยุ่นแข็งแรง จึงไวต่อสิ่งที่มากระทบอย่างมาก
การหายใจหอบเหนื่อยเกิดจากกลไกของร่างกายต้องการเพิ่มการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในปอดมากขึ้น เพื่อการรักษาระดับออกซิเจนในเลือดให้เพียงพอ
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียง ในยุคโควิด ผู้สูงอายุ และ ผู้ป่วยติดเตียง นับเป็นกลุ่มเสี่ยง ดังนั้นในช่วงสถานการณ์โควิดระบาด เราจึงต้องดูแลท่านอย่างระมัดระวังเป็นพิเศษ วิธีการดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงในสถานการณ์นี้ ไม่ใช่เรื่องยากค่ะ
เหตุใดทารกจึงไม่ควรทานน้ำ ก่อน 6 เดือน? นมแม่ หรือ นมผสมนับเป็นอาหารหลักสำหรับทารกอายุต่ำกว่า 6 เดือน ซึ่งในนมเหล่านั้นจะมีน้ำเป็นส่วนผสมมากกว่า 80%
ผู้ป่วยหลังโควิดหลายท่าน ในช่วง 1-3 เดือนแรกหลังป่วย อาจมีอาการผมร่วงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งปัญหาผมร่วงที่เกิดขึ้น ไม่ได้เป็นผลจากไวรัสโคโรนาโดยตรง แต่เป็นผลกระทบที่จากการเจ็บป่วย เนื่องจากเชื้อโรคโควิด-19 ทำให้เกิดการอักเสบ และการเปลี่ยนแปลงของระบบการทำงานภายในร่างกาย นอกจากนี้ผู้ป่วยอาจมีความเครียด ความวิตกกังวล น้ำหนักลดลง จากลิ้นไม่รับรส จมูกไม่ได้กลิ่น ส่งผลให้รัปประทานอาหารได้น้อยลง จนกระตุ้นให้เกิดอาการผมร่วงได้
การที่ทารกสะอึก “มักเกิดหลังจากที่ทารกดื่มนมอิ่ม” สาเหตุจากกระเพาะอาหารขยายตัว เนื่องจากมีนมเข้าไปอยู่ จนเกิดแรงดัน…
ท่าให้นมที่เหมาะสม จะช่วยให้ลูกน้อยสามารถอมได้ถึงลานนม และ ได้น้ำนมแม่อย่างเต็มที่ สามารถดูดได้เกลี้ยงเต้า ช่วยลดโอการที่จะเกิดท่อน้ำนมอุดตัน และ ช่วยลดปัญหาหัวนมแตก อีกด้วยค่ะ
านนมอิ่มเป็นสิ่งที่สำคัญกับลูกน้อยวัย 0 – 3 เดือนเป็นอย่างมาก ช่วยให้ระบบย่อยในท้องทำงานได้ดีขึ้น คุณแม่ควรต้องจัดท่าให้ลูกเรอหลังทานนมทุกครั้ง ไม่ว่าจะทานจากเต้าหรือขวด เพราะระหว่างที่ลูกดูดนมลูกจะกลืนลมเข้าไปด้วย ทำให้ลูกรู้สึกแน่นท้อง อึดอัดท้อง หรือแหวะนมได้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ลูกมีอาการไม่สบายท้องนั่นเอง
า ท่านอาจมีอาการปวดหลังส่วนล่าง หรือที่เรียกว่า Quadratus lumborum (QL) pain
น้ำนมแม่มีสารที่ช่วยเสริมสร้างเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ทารกให้เติบโตและมีสุขภาพแข็งแรง ดังนั้นการเก็บรักษาน้ำนมแม่ให้ลูกน้อยได้ทานต่อเนื่องตั้งแต่แรกเกิดจนถึง6เดือนจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ
การเก็บรักษาน้ำนมแม่ให้คงคุณค่าอยู่ได้นานนั้นขึ้นอยู่กับการเก็บรักษาในอุณหภูมิที่เหมาะสม
การทดสอบภาวะออกชิเจนต่ำในเลือดขณะออกกำลัง (exercise-ind…
ครั้งที่แล้ว เราได้พูดถึงปริมาณน้ำนมที่เหมาะสมสำหรับทารก ซึ่งสามารถดูได้จากน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นของทารก มาดูกันนะคะว่าน้ำหนักตัวของลูกน้อย ในแต่ละช่วงเดือน ควรเพิ่มประมาณเท่าไร
เจ็บปวดหัวเข่า หัวเข่าบวม หรือเสียวหัวเข่า อย่างต่อเนื่อง เป็นเวลานาน เป็นอาการบ่งชี้ของโรคปวดเข่าเรื้อรัง (Chronic knee pain)
น้ำนมส่วนหน้า และน้ำนมส่วนหลัง ต่างกันอย่างไร นมแม่มีประโยชน์เป็นอย่างยิ่งสำหรับลูกน้อย เพราะเต็มไปด้วย…
แม้ว่าน้ำนมแม่จะมีประโยชน์ที่สุดสำหรับลูกน้อยในวัยทารก หากเป็นไปได้ ควรเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ล้วน ใน 6 เดือนแรก เนื่องจากนมแม่จะมีทั้งภูมิคุ้มกัน และ สารอาหาร
ท่าที่ 1 ให้คุณแม่นั่งในท่าสบาย ๆ ใช้มือทั้งสองข้างค่อย ๆ นวดต้นคอ ลงมาที่แขนและใต้รักแร้ โดยนวดเบา ๆ จะรู้สึกสบาย เลือดไหลเวียนได้ดีขึ้น ท่าที่ 2 เอามือทั้งสอง
โรคที่กำลังเป็นที่สนใจและเฝ้าระวังอย่างมากตอนนี้ คงหนีไม่พ้น COVID หรือ เชื้อไวรัสโคโรนา โรคนี้เมื่อเข้าสู่ร่างกายจะส่งผลกระทบต่ออวัยวะหลายๆส่วน ทั้งนี้อาการในแต่ละคนจากต่างกันไป บางรายอาจไม่แสดงอาการอะไร
Colic หรือที่บางคนเรียกว่า เด็กร้อง 3 เดือน มักเกิดกับทารกในช่วง 3 เดือนแรก หลังจาก 3 เดือนแล้ว อาการร้องไห้แผดเสียงอย่างหนักโดยไม่ทราบสาเหตุ ก็จะหายไปเอง
โรคเบาหวาน จัดเป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากประสิทธิภาพการสร้างฮอร์โมนอินซูลินของตับอ่อนลดลง ส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถเผาผลาญอาหารประเภทแป้งและน้ำตาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คุณแม่ที่มีอาการเต้าอักเสบ มักมีอาการปวด เต้าบวม แดง ร้อนบริเวณเต้านม และอาจมีไข้ร่วมด้วย หากไม่ได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม อาจทำให้มีการติดเชื้อของเนื้อเยื่อเต้านม ต้องใช้ยาปฏิชีวนะในรักษา และอาจทำให้เป็นฝีหนองได้
กายออกกำลังกายในน้ำ หรือ ธาราบำบัด เป็นอีกตัวเลือกหนึ่งในการออกกำลังสำหรับผู้สูงอายุ ที่ช่วยลดความเสี่ยงเรื่องการพลัดตกหกล้ม ทั้งยังช่วยลดแรกกระแทก และป้องกันการบาดเจ็บระหว่างออกกำลังได้อีกด้วย
โรคกระดูกพรุนเกิดจากการที่กระดูกเริ่มเสื่อมและบางลง เนื่องจากการสูญเสียแคลเซียมที่สะสมในกระดูก ส่งผลให้กระดูกเปราะบางไม่สามารถรับน้ำหนัก และเกิดการแตกหักตามมา โรคนี้จะพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
ผู้สูงอายุเมื่ออายุมากขึ้น ร่างกายและอวัยวะหลายๆส่วนอาจเสื่อมสภาพ ประกอบกับการไม่ค่อยได้ใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ส่งผลให้ความสามารถในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆถดถอยลง จนอาจนำไปสู่การติดเตียง
โดยปกติแล้วเมื่อทารกคลอดออกมา แพทย์จะทำความสะอาดและตัดสายสะดือให้เหลือความยาวประมาณ 1 – 1.5 นิ้ว ทั้งนี้โดยปกติหลังคลอดประมาณ 7-10 วันสะดือทารกจะหลุดไปเอง อย่างไรก็ตามระหว่างที่สายสะดือยังคงอยู่ คุณแม่ควรดูแลความสะอาดบริเวณสะดือให้สะอาด อย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันการอักเสบ ติดเชื้อค่ะ
Baby Blue เป็นภาวะที่คุณแม่แรกคลอดส่วนใหญ่ หรือ ประมาณ 75% ของคุณแม่หลังคลอดต้องเจอ โดยมักเกิดช่วง 3-10 วันหลังคลอด
คุณแม่หลังคลอดมักกังวลถึงรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไป หลายท่านอาจรู้สึกว่า ทำไมคลอดแล้วก็ยังคงมีหน้าท้องเหมือนยังไม่ได้คลอด ทั้งนี้เนื่องจากผิวหนัง และมดลูกของคุณแม่มีการขยายออกตลอด 9 เดือนที่คุณแม่ตั้งครรภ์ ซึ่งประมาณ 6-8 สัปดาห์หลังคลอด มดลูกของคุณแม่จะหดตัวกลับไปเท่าเดิม
ข้อสะโพก เป็นข้อต่อระหว่างกระดูกเชิงกรานและกระดูกต้นขา ทำหน้าที่งอ เหยียด เวลานั่ง เดิน ยืน หรือแม้กระทั่งนอน ดังนั้นเมื่อใช้งานเป็นเวลานานอาจก่อให้เกิดการสึกหรอของผิวของข้อสะโพกหรือ การทรุดตัวของหัวกระดูกต้นขาจนทำให้เกิดอาการปวดและมีการเคลื่อนไหวติดขัด หากอาการรุนแรงจะส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวัน
จริง ๆแล้ว ไม่ว่าจะคุณแม่จะมีหัวนมบอด หัวนมสั้น หัวนมแบน หรือมีรูปทรงผิดปกติอย่างไรก็ตาม ก็สามารถให้ลูกเข้าเต้าได้นะคะ เพราะปกติแล้วทารกจะดูดเต้านมแม่ด้วยการอมลึกถึงลานนม ดังนั้นถ้าลูกดูดนมแม่ได้อย่างถูกวิธี ก็จะสามารถเข้าเต้าเพื่อรับน้ำนมแม่ได้
อัมพฤกษ์ อัมพาต หรือ Cerebrovascular accident (CVA) เป็นอาการหนึ่งของโรคหลอดเลือดในสมอง หรือ Stroke เกิดจากการที่…
หากลูกมีอาการไอ หรือ ขย้อนนมออกมาในระหว่างที่ดูดนม หรือ เข้าเต้า แสดงว่าอาจเกิดการสำลักขึ้น หากอาการสำลักนั้นรุนแรง ลูกอาจไอแรง จนหน้าเขียว มีเสียงหายใจครืดคราด กรณีนี้ควรรีบนำลูกไปพบแพทย์โดยด่วน
ปัญหาทารกสำลักนมจนไม่เอาเต้า มักพบในคุณแม่ที่มีปริมาณน้ำนมเยอะ ที่ในหลายๆครั้งน้ำนมจะพุ่งจากปฏิกิริยา Let down reflex ส่งผลให้ลูกกลืนน้ำนม…
โรคปลอกหุ้มเส้นเอ็นข้อมืออักเสบ หรือ เดอ เกอร์ แวง คือ ภาวะอักเสบเรื้อรังของเส้นเอ็นและปลอกหุ้มเส้นเอ็นบริเวณโคนนิ้วโป้ง ซึ่งเกิดจากการเสียดสีของ…
เราได้พูดถึงหลักเกณฑ์การที่นำมาใช้ในการพิจารณาว่า น้ำนมแม่เพียงพอต่อลูกน้อยหรือไม่ ไป 3 วิธี ไม่ว่าจะเป็นการสังเกตุจากพฤติกรรมของทารก พิจารณาจากสูตรคำนวณ…
นมแม่นับเป็นแหล่งสารอาหารที่สำคัญสำหรับลูกน้อยในวัยทารก ซึ่งทารกแต่ละคนต้องการน้ำนมในปริมาณที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอายุ…
คุณมีอาการเหล่านี้ หรือไม่ เจ็บส้นเท้า ลามทั่วฝ่าเท้า อาการเหล่านี้เป็นัญญาณของโรคพังผืดฝ่าเท้าอักเสบ (Plantar fasciitis) หรือที่เรียกว่า…
สังเกตอย่างไรว่าปริมาณน้ำนมแม่นั้น เพียงพอต่อลูกน้อยของเรา จริงๆแล้ว สามารถสังเกตุได้หลายวิธีค่ะ แต่วันนี้เราจะมาพูดถึงการพิจารณาอย่างคร่าวๆ…
คุณแม่เคยมีประสบการณ์ ปั๊มนมแล้วน้ำนมออกมาเป็นสีชมพู หรือสีแดง บ้างไหมคะ
นั่นอาจเป็นเพราะน้ำนมที่ปั๊มออกมานั้นมีเลือดปนมาด้วย
กรณีข้อเข่าเสื่อม ผู้สูงอายุส่วนมากมักมีอาการปวดเข่าเมื่อยืน เดิน ทั้งนี้อาการดังกล่าวอาจทุเลาลงเมื่อได้พัก
เหตุใดจึงต้องเปลี่ยนข้อเข่า
การเลือกกรวยปั๊มนมให้พอดีกับหัวนมเป็นสิ่งสำคัญที่มีผลต่อการปั๊มนม คุณแม่จึงควรเลือกขนาดให้เหมาะสม หากกรวยปั๊มเล็กเกินไป จะทำให้เจ็บหัวนม ซึ่งเกิดจากการที่หัวนมแน่นเต็มกรวยปั๊มเกินไป จะทำให้เจ็บหัวนมและปั๊มไม่สบาย
ช่วง 3 สัปดาห์แรกหลังคลอด เป็นช่วงที่เหมาะกับการปั๊มนมอย่างมาก ยิ่งคุณแม่หมั่นปั๊มนมมากเท่าไหร่จะยิ่งมีโอกาสที่น้ำนมจะมามากขึ้นในระยะยาว ดังนั้นหลังจากที่คุณแม่คลอดน้องแล้ว ควรเริ่มต้นปั๊มนมให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ โดยปั๊มให้ได้วันละ 8-10 ครั้ง หรือทุกๆ 3 ชั่วโมงนั่นเอง
อาการปวดคอ บ่า ไหล่ มักเป็นอาการของ Office Syndrome พบบ่อยในคนที่ทำงานในออฟฟิศ ที่ต้องนั่งทำงานหน้าคอมต่อเนื่องกันหลายชั่วโมง ในอิริยาบถที่ไม่ถูกต้อง ทำให้กล้ามเนื้อเกิดการตึงเครียด ส่งผลให้เกิดกล้ามเนื้ออักเสบ ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ช่วงนี้มีคุณแม่หลายท่าน ปรึกษาเรื่องอาการปวดข้อมือ ปวดหลัง ปวดบ่า อันเนื่องมาจากการอุ้มน้องเป็นระยะเวลานานต่อวัน ต่อเนื่องกันหลายๆวัน เวลานาน จริงๆแล้ว อาการปวดหลังมักมีผลมาจากตอนที่คุณแม่ตั้งครรภ์ เมื่อเข้าสู่ช่วงประมาณ 4-5 เดือนของการตั้งครรภ์ ขนาดครรภ์เริ่มขยายใหญ่มากขึ้น น้ำหนักครรภ์เพิ่มขึ้น
หากคุณแม่รู้สึกเจ็บหัวนมเวลาให้ลูกเข้าเต้า อาจเป็นเพราะท่าให้นมไม่ถูกต้องนัก ส่งผลให้น้ำนมไหลเข้าปากลูกได้น้อย ดังนั้นเพื่อให้ลูกน้อยได้รับน้ำนมอย่างเต็มที่ คุณแม่ลองปรับการให้การให้ลูกน้อยเข้าเต้าดูนะคะ สิ่งสำคัญ คือ พยายามให้น้องงับถึงลานนม
อาการเตือนที่สำคัญ ที่มักทำให้ตกใจ คือ ปวดหลังหู จากนั้นปากเริ่มเบี้ยว มุมปากตก ปิดตาไม่ได้ ทานอาหารแล้วน้ำลายไหลออกทางมุมปาก โรคใบหน้าเบี้ยวครึ่งซีก หรือที่บางคนเรียกว่า โรคปากเบี้ยว สามารถเกิดได้ในกลุ่มคนทุกเพศ ทุกวัย สาเหตุเกิดจากการอักเสบของเส้นประสาทสมองเส้นที่ 7 (Cranial nerve) ที่ควบคุมการทำงานของใบหน้า
โรคกล้ามเนื้อหนีบเส้นประสาท หรือ ที่บางท่านเรียกว่า โรคสลักเพชรจม เป็นโรคที่พบได้บ่อย โดยอาการจะคล้ายกับโรคหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เกิดจากกล้ามเนื้อ…
รคข้อเข่าเสื่อม พบบ่อยในวัยสูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยจะพบในเพศหญิง มากกว่าเพศชาย เกิดจากการใช้งานข้อต่อเข่าอย่างต่อเนื่องจนทำให้กระดูกอ่อน ผิวข้อสึกกร่อน…
ท่อน้ำนมอุดตัน เกิดจากคุณแม่ปล่อยน้ำนมค้างในเต้าสะสม หรือ สำหรับคุณแม่ที่น้ำนมข้น จะเกิดการอุดตันได้ง่าย
ซึ่งอาการบ่งชี้ของท่อน้ำนมอุดตัน ได้แก่
เนื่องจากช่วงนี้ที่มีการแพร่ระบาดของ COVID-19 พรีเมียร์ โฮม เฮลท์ แคร์ จึงนำข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการดูแลตัวเอง ซึ่งทุกคนสามารถป้องกันตัวเองและคนรอบข้างให้ห่างไกลจากเชื้อ COVID-19 ได้ มาฝากดังนี้ค่ะ
ไวท์ดอท(White dot ) จุดขาวคล้ายหัวสิวที่หัวนม เกิดจากมีเนื้อเยื่อหรือเศษไขมันปิดรูของท่อน้ำนม ส่งผลให้น้ำนมไหลออกไม่ได้ ทำให้รู้สึกปวดจี๊ดๆ แปล๊บๆ เหมือนเข็มทิ่มและอาจทำให้ มีก้อนแข็งเป็นไตที่เต้านม เจ็บหรือปวด หรือที่เรียกว่า”ท่อน้ำนมอุดตัน”…
ช่วงนี้ทั่วโลกกำลังให้ความสนใจเรื่องการแพร่ระบาดของ โคโรน่า ไวรัส ซึ่งเริ่มแพร่มาจาก เมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย ทางพรีเมียร์ โฮม เฮลท์ แคร์ จึงรวมรวมข้อมูลเกี่ยวกับไวรัสดังกล่าว มาแชร์กันค่ะ
การบีบน้ำนมแม่ด้วยมือ จะช่วยกระตุ้นน้ำนม และช่วยลดโอการที่จะเกิดท่อน้ำนมอุดตัน ซึ่งการบีบน้ำนมด้วยมือ สามารถทำได้ไม่ยาก ดังนี้…
ช่วงหลังคลอดคุณแม่หลายๆท่าน มักกังวลว่า เมื่อไรน้ำนมถึงจะมา จะมีน้ำนมเยอะ เพียงพอให้ลูกดื่มหรือไม่ คุณแม่ไม่ควรวิตกกังวลเรื่องการให้นมจนเกินไป คุณแม่บางท่านน้ำนมอาจมาตั้งแต่หลังคลอด…
ไวรัส RSV (Respiratory Syncytial Virus) เกิดจากการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ที่ติดเชื้อ โดยไวรัสเข้าสู่ร่างกายผ่านทางตา จมูก ปาก หรือสัมผัสเชื้อโดยตรงจากการจับมือ…
ธาราบำบัด(Hydrotherapy) เป็นศาสตร์การบำบัดโดยการใช้คุณสมบัติของน้ำเป็นตัวช่วยในการฟื้นฟูในผู้ป่วย โดยอาศัยแรงต้านและลอยตัวของน้ำ ซึ่งจะช่วยพยุงเพื่อให้สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ง่ายขึ้น หรือใช้แรงต้านเพื่อให้เกิดการทำงานของกล้ามเนื้อที่มากขึ้น…
สำหรับคุณแม่ที่มีน้ำนมมาก และ/หรือ คุณแม่ที่ต้องไปทำงาน แต่ต้องการที่จะทำสต๊อกน้ำนม เพื่อให้ลูกน้อยได้ดื่มนมแม่ไปนานๆ การเก็บรักษานมแม่เป็นเรื่องจำเป็น เราจึงขอนำวิธีการเก็บน้ำนมแม่ แม่ฝากกันค่ะ
คือภาวะที่มีปัญหาความจำบกพร่อง ร่วมกับมีอาการอื่น เช่น นึกคำพูดไม่ออก ความสามารถในการตัดสินใจลดลง…
คุณแม่ส่วนใหญ่มักกังวลว่าตนเองมีเต้านมขนาดเล็กเกินไป ทั้งยังกังวลว่าจะเป็นเหตุให้มีน้ำนมสำหรับลูกน้อยกว่าคนที่มีเต้านมขนาดใหญ่หรือไม่ จริงๆ แล้ว ขนาดของเต้านมไม่สัมพันธ์กับการสร้างน้ำนมค่ะ…
อาการนิ้วล็อค(Trigger finger) เกิดจากการที่เส้นเอ็นบริเวณนิ้วมือหนาตัวขึ้นจนเป็นก้อนเล็กๆ โดยขณะที่เราทำการเคลื่อนไหวนิ้ว…
โมทิเลี่ยม หรือเรียกอีกชื่อว่า ดอมเพอริโดน เป็นยาซึ่งมีผลข้างเคียงในการช่วยกระตุ้นการสร้างน้ำนม ซึ่งจริงๆแล้วเดิมทีโมทิเลี่ยม…
“นวดเปิดท่อน้ำนมช่วยเพิ่มน้ำนมได้จริงหรือ”เป็นหนึ่งในคำถามยอดฮิตในหมู่คุณแม่ที่ตั้งใจเลี้ยงลูกน้อยด้วยน้ำนมแม่…
ในช่วงที่คุณแม่ตั้งครรภ์นั้นร่างกายจะไม่มีการตกไข่ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกายเพื่อรองรับการตั้งครรภ์ให้เป็นไปตามปกติ ส่งผลให้ไม่มีประจำเดือน แต่เมื่อคุณแม่คลอดแล้ว…
โรคอัมพาต อัมพฤกษ์ เกิดจากการที่สมองขาดออกซิเจน อันเนื่องมาจากเส้นเลือดไปเลี้ยงสมองอุดตัน…
ข้อเสื่อม (Osteoarthritis; OA) เป็นภาวะ / อาการที่เกิดจากความเสื่อมจากการใช้งานของข้อต่อ ได้แก่…
ท่าบริหารป้องกันปวดหลัง อาศัยหลักการสำคัญ 2 ประการได้แก่ การทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรง (strengthening) และยืดเส้น (stretching)…
ทำอย่างไรน้ำนมถึงจะมาเยอะๆ? ทำอย่างไรน้ำนมถึงจะพอ? ไม่ยากเลยค่ะ หนึ่งในวิธีกระตุ้นน้ำนมง่ายๆที่คุณแม่สามารถทำได้ด้วยตัวเอง เรียกว่า “การกระตุ้นจี๊ด”…
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า
คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น
ยอมรับทั้งหมด