อาการจี๊ด เกิดจากอะไร?

ความรู้สึกจี๊ดๆ ตามด้วยตึงๆ ที่เต้าก่อนที่น้ำนมจะพุ่งออกมา ซึ่งทางการแพทย์ เรียกว่า let-down reflex หรือ milk ejection reflex (MER)
เกิดจากการที่ร่างกายหลั่ง oxytocin ทำให้กล้ามเนื้อรอบต่อมน้ำนมหดตัวแล้วผลักน้ำนมออกมา

เหตุใดทารกจึงไม่ควรทานน้ำ ก่อน 6 เดือน?

เหตุใดทารกจึงไม่ควรทานน้ำ ก่อน 6 เดือน? นมแม่ หรือ นมผสมนับเป็นอาหารหลักสำหรับทารกอายุต่ำกว่า 6 เดือน ซึ่งในนมเหล่านั้นจะมีน้ำเป็นส่วนผสมมากกว่า 80%

ปัญหาผมร่วง หลังโควิด

ผู้ป่วยหลังโควิดหลายท่าน ในช่วง 1-3 เดือนแรกหลังป่วย อาจมีอาการผมร่วงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งปัญหาผมร่วงที่เกิดขึ้น ไม่ได้เป็นผลจากไวรัสโคโรนาโดยตรง แต่เป็นผลกระทบที่จากการเจ็บป่วย เนื่องจากเชื้อโรคโควิด-19 ทำให้เกิดการอักเสบ และการเปลี่ยนแปลงของระบบการทำงานภายในร่างกาย นอกจากนี้ผู้ป่วยอาจมีความเครียด ความวิตกกังวล น้ำหนักลดลง จากลิ้นไม่รับรส จมูกไม่ได้กลิ่น ส่งผลให้รัปประทานอาหารได้น้อยลง จนกระตุ้นให้เกิดอาการผมร่วงได้

สะอึกในทารกเกิดจากอะไรและแก้ไขได้อย่างไร

สะอึกในทารก เกิดจากอะไรและแก้ไขได้อย่างไร

การที่ทารกสะอึก “มักเกิดหลังจากที่ทารกดื่มนมอิ่ม” สาเหตุจากกระเพาะอาหารขยายตัว เนื่องจากมีนมเข้าไปอยู่ จนเกิดแรงดัน…

ท่าให้นมลูกที่ถูกต้อง

ท่าให้นมที่เหมาะสม จะช่วยให้ลูกน้อยสามารถอมได้ถึงลานนม และ ได้น้ำนมแม่อย่างเต็มที่ สามารถดูดได้เกลี้ยงเต้า ช่วยลดโอการที่จะเกิดท่อน้ำนมอุดตัน และ ช่วยลดปัญหาหัวนมแตก อีกด้วยค่ะ

จับเรออย่างไรให้ถูกวิธี

านนมอิ่มเป็นสิ่งที่สำคัญกับลูกน้อยวัย 0 – 3 เดือนเป็นอย่างมาก ช่วยให้ระบบย่อยในท้องทำงานได้ดีขึ้น คุณแม่ควรต้องจัดท่าให้ลูกเรอหลังทานนมทุกครั้ง ไม่ว่าจะทานจากเต้าหรือขวด เพราะระหว่างที่ลูกดูดนมลูกจะกลืนลมเข้าไปด้วย ทำให้ลูกรู้สึกแน่นท้อง อึดอัดท้อง หรือแหวะนมได้ ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ลูกมีอาการไม่สบายท้องนั่นเอง

วิธีเก็บสต็อกน้ำนมแม่

น้ำนมแม่มีสารที่ช่วยเสริมสร้างเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ทารกให้เติบโตและมีสุขภาพแข็งแรง ดังนั้นการเก็บรักษาน้ำนมแม่ให้ลูกน้อยได้ทานต่อเนื่องตั้งแต่แรกเกิดจนถึง6เดือนจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ
การเก็บรักษาน้ำนมแม่ให้คงคุณค่าอยู่ได้นานนั้นขึ้นอยู่กับการเก็บรักษาในอุณหภูมิที่เหมาะสม

น้ำหนักตามเกณฑ์ปกติของทารก

ครั้งที่แล้ว เราได้พูดถึงปริมาณน้ำนมที่เหมาะสมสำหรับทารก ซึ่งสามารถดูได้จากน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นของทารก มาดูกันนะคะว่าน้ำหนักตัวของลูกน้อย ในแต่ละช่วงเดือน ควรเพิ่มประมาณเท่าไร